วิกฤตการเรียนรู้: เรียนไปแต่ใช้ไม่ได้ และ (ได้) เรียนน้อยแต่เจ็บมาก
ไม่ใช่แค่ฝั่งของเจ้าหน้าที่เท่านั้น แม้กระทั่งผู้ปกครองก็ไม่ได้ตระหนักถึงการศึกษาที่ด้อยคุณภาพเช่นกัน พวกเขาจึงไม่ได้สนใจจะเรียกร้องให้โรงเรียนมีคุณภาพดีกว่าเดิม หรือกว่าที่พวกเขาจะตระหนักได้ ก็เป็นช่วงที่เด็กเรียนจบและเข้าสู่ตลาดแรงงานแล้ว จนทำให้หลายๆ คนเจอกับสภาวะที่เรียนจบมาแล้ว แต่กลับไม่มีทักษะเพียงพอในการทำงาน
แม้เด็กและเยาวชนจะได้มีโอกาสเข้าเรียนในการศึกษาระดับพื้นฐานที่สูงขึ้น แต่สถานศึกษาในแต่ละแห่งก็มีทรัพยากรทางการศึกษา ทั้งด้านอุปกรณ์การศึกษา บุคลากรทางการศึกษา มีความพร้อมในการให้การศึกษาที่มีคุณภาพแตกต่างกัน ดังที่เห็นได้ว่า โรงเรียนในเมืองมีความพร้อมกว่ามาก ต่างจากโรงเรียนชนบทขนาดเล็กที่ยังขาดแคลนอยู่มาก
การประชาสัมพันธ์ให้เห็นถึงปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา สามารถทำให้ผู้คนตระหนัก และเข้าใจถึงปัญหาได้ดีมากยิ่งขึ้น การแพร่กระจายข่าวสารเพื่อสร้างความตระหนักรู้ อาจทำได้โดยการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อช่องทางต่างๆ เช่น โซเชียลมีเดียที่เข้าถึงผู้คนได้อย่างหลากหลาย ง่ายดาย และรวดเร็ว หรืออาจเป็นการประชาสัมพันธ์ผ่านโครงการ หรือหน่วยงานต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ และมีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งจะช่วยให้ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาถูกสื่อสารไปถึงประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
“ที่ผมสนใจทำเรื่องนี้ เพราะตระหนักถึงปัญหานี้มาโดยตลอดชีวิตการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ยากลำบากในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือพื้นที่ใกล้เมืองอย่างจังหวัดนครนายก ล้วนประสบปัญหาความเหลื่อมล้ำ แต่อาจจะแตกต่างในมิติที่มาของปัญหาที่มีรายละเอียดแตกต่างกันออกไป ตอนมาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายกซึ่งเป็นช่วงสามปีสุดท้ายของชีวิตราชการที่แอบคิดว่าจะสบายๆ แต่สุดท้ายเราพบว่าในจังหวัดมีแม่วัยใสและเด็กเดินยา มีปัญหาพ่อแม่แยกทางจำนวนมาก
ในบทความนี้ กสศ. จะมาเล่าที่มาที่ไป และแชร์เกี่ยวกับสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทยในปีล่าสุด
ที่เป็นผู้ชาย ครูต้องทำหน้าที่ทุกอย่าง เป็นทั้งครู พ่อ แม่ ไม่ใช่เฉพาะงานสอนอย่างเดียว ความประทับใจสำคัญที่ครูนกบอกเล่าถึงการที่ครูสอนให้เด็ก ๆ รู้จักทักษะการใช้ชีวิตที่จำเป็นที่เราต้องพร้อมเพื่อออกไปเจอกับโลกภายนอก
การให้เงินช่วยเหลือเด็กยากจนที่ไม่เพียงพอของ สพฐ. ในด้านหนึ่งเป็นผลมาจากวิธีการจัดสรรงบประมาณทางการศึกษาที่ให้เงินอุดหนุนกับเด็กยากจนค่อนข้างน้อย แต่ในอีกด้านหนึ่งเป็นเพราะ ตัวเลขนักเรียนยากจนที่ปรากฏบนฐานข้อมูลของสพฐ.
รายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำของ กสศ.
กสศ. ความเสมอภาคทางการศึกษา สพฐ. ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา นักเรียนยากจน การศึกษาไทย ปัญหาการศีกษา เงินอุดหนุนนักเรียนยากจน
แผนการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี
สร้างมาตรฐานขั้นต่ำ – ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ
อาจไม่ได้สะท้อนความเป็นจริง โดยการคัดกรองที่ ‘ไม่แม่นยำ’ มีส่วนทำให้ตัวเลขนักเรียนยากจนสูงเกินจริง
เพราะแต่ละพื้นที่มีบริบทแตกต่างกันและโครงสร้างต้นตอของปัญหาก็ไม่เหมือนกัน การแก้ปัญหา “ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา” จึงต้องแก้ที่พื้นที่
Comments on “Fascination About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา”